Dark Server

รูปภาพของฉัน
บ่อทอง, ภาคะวันออก จังหวัดชลบุรี, Thailand
สวัสดีครับ ยินดีต้อนรับสู่ Farmwer7 บล็อก นะครับ

วันอังคารที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2554

ยินดีต้อนรับสู่โรงเรียนบ้านหนองเกตุ

ยิดีต้รัสู่รีบ้ตุ
   Welcome To Banongket School
   โรงเรียนในฝัน โรงเรียนดีใกล้บ้าน




                         Welcome  
                        ยินดีต้อนรับ
       ขอให้มีความสุขกับโรงเรียนของเรานะครับ






ประวัติของโรงเรียนบ้านหนองเกตุ

ข้อมูลสถานศึกษา โรงเรียนบ้านหนองเกตุ  บ้านเลขที่ 221 หมู่ที่ 5
ตำบลบ่อกวางทอง อำเภอบ่อทอง จังหวัดชลบุรี  
มีวัดใกล้โรงเรียนมีชื่อว่า วัดหนองเกตุ

มีคุณครูจำนวน    25   คน
มีนักเรียนจำนวน 453  คน
 
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองเกตุ
     
  1. นายสนิท   คงภักดี                                  
ผอ.ประจำโรงเรียนบ้านหนองเกตุ




รายชื่อคุณครูโรงเรียนบ้านหนองเกตุ

  1. นางสาวขจีพรรณ   รื่นรมย์         ครูประจำชั้นอนุบาล ๑
  2. นางสาวจิรวัส    พูลสวัสดิ์          ครูประจำชั้นอนุบาล ๒/๑
  3. นางเพยาว์    สกุลสุทธิวัฒน์       ครูประจำชั้นอนุบาล ๒/๒
  4. นางสาวพันธ์ทิพา    เปียสังข์      ครูประจำชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑/๑
  5. นางพัชรียา    ทองบัณฑิต         ครูประจำชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑/๒
  6. นางอัชรา     วงษ์เพชร              ครูประจำชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒/๑
  7. นางสาวนันทิยา    อินทรา          ครูประจำชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒/๒
  8. นางนิภา    บุญจี๊ด                    ครูประจำชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓                                     
  9. นางลาวัลย์    คำแก้ว                ครูประจำชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔/๑
10. นายภานุวัฒน์    ประทุมทอง       ครูประจำชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔/๒
11. นายอภินันท์    ชมเชย               ครูประจำชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
12. นางสาวลาวรรณ   สุดสิน            ครูประจำชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
13. นางสาววรินดา   ไพรวันรัตน์        ครูประจำชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
14. นางสาววิชิตา    สืบทอง             ครูประจำชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
15. นางสาวพรธิภา   ใจกล้า             ครูประจำชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒                                                              
16. นางสาวเด่นนภา    อังกูรธนวัฒน์  ครูประจำชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๑
17. นายสมฤทธิ์    กะทงยาม            ครูประจำชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๒
18. นางศรัณย์รัชต์    เศรษฐี             ครูประจำชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๒



ครูบรรณารักษ์
  1. นางสาวนพณัฐ   จ้อยทอง

ครูพิเศษ
  1. นางสาวชนินทร   จึงชาญชัยกุล
  2. นายสรโชติ    อินทรา
  3. นางมาไล     ศรีเอี่ยม
  4. นางสาวรัตนาภรณ์   โปปัญจมะกุล
                                                                                                    
วิทยากรภายนอก
   1. นายบรรพต    เจริญศิลป์

ครูธุรการ
   1.นางสาวกนกพร    สุนทรวัฒน์ 








       

วันอังคารที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

ศัพท์น่ารู้

ศัพท์น่ารู้
มี 2 หมวด
หมวด สัตว์
ลำดับ       คำศัพท์        คำแปล
   1.              Dog                  สุนัข
   2.              Cat                    แมว
   3.              Rabbit               กระต่าย
   4.              Hamster             หนูแฮมเตอร์
   5.              Goldfish             ปลาทอง
   6.              Cow                   วัว
   7.              Sheep               แกะ
   8.              pig                     หมู
   9.              Horse                  ม้า
 10.              Chicken              ไก่


หมวดร่างกาย
ลำดับ       คำศัพท์        คำแปล
   1.              Head                 ศรีษะ
   2.              Arm                   แขน
   3.              Eye                    ตา
   4.              Back                  หลัง
   5.              Face                  ใบหน้า
   6.              Leg                    ขา
   7.              Ear                     หู
   8.              Nose                  จมูก
   9.              Hand                  มือ
 10.              Hair                    ผม
 11.              Neck                   คอ
 12.              Foot                   เท้า
 13.              Mouth                ปาก
 14.              Toe                   นิ้วเท้า
 15.              Finger                นิ้วมือ









วันจันทร์ที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2554

เหตุผลที่ทางราชการเปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่




เหตุผลที่ทางราชการได้เปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่จากวันที่ 1
เมษายนมาเป็นวันที่ 1 มกราคม

ก็คือ
1. ไม่ขัดกับพุทธศาสนาในด้านการนับวัน เดือน และการร่วมฉลองปีใหม่ด้วยการทำบุญ
2. เป็นการเลิกวิธีนำเอาลัทธิพราหมณ์มาคร่อมพระพุทธศาสนา
3. ทำให้เข้าสู่ระดับสากลที่ใช้อยู่ในประเทศทั่วโลก
4. เป็นการฟื้นฟูวัฒนธรรม
คตินิยม และจารีตประเพณีของชาติไทย

กิจกรรมที่ชาวไทยส่วนใหญ่มักจะยึดถือปฏิบัติในวันขึ้นปีใหม่ได้แก่

1. การทำบุญตักบาตร โดยอาจตักบาตรที่บ้าน
หรือไปที่วัดหรือตามสถานที่ต่างๆที่ทางราชการเชิญชวนไปร่วมทำบุญ
2.
การกราบขอพรจากผู้ใหญ่ และอวยพรเพื่อนฝูง การมอบของขวัญ การมอบช่อดอกไม้
หรือการส่งบัตรอวยพร
3. การจัดงานรื่นเริง การจัดเลี้ยงในหมู่เพื่อนฝูง
ญาติพี่น้องหรือตามหน่วยงานต่างๆ

 
วันขึ้นปีใหม่นับเป็นโอกาสดีที่จะทำให้เราได้ทบทวนถึงการดำเนินชีวิตในอดีต
เพื่อจะได้แก้ไขข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นในอดีตให้ดีขึ้น
   

วันอังคารที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2554

ประวัติส่วนตัว

ประวัติส่วนตัว

ชื่อ นายอัษฎาวุธ นามสกุล โฉมวิลัย

อาชีพ นักเรียน

เบอร์โทรศัพท์ 0805721329 เบอร์โทรศัพท์บ้าน 038363046

อาหารที่ชอบ ไข่ดาว-ผัดกะเพรา 

กีฬาที่ชอบ ตะกร้อ-ฟุตบอล






ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 ห้อง 1 ศึกษาอยู่ที่ โรงเรียนบ้านหนองเกตุ อ.บ่อทอง
ต.บ่อกวางทอง จ.ชลบุรี รหัสไปรษณี 20270






ประวัติความเป็นมาของวันปีใหม่

      ประวัติความเป็นมา
     
         วันปีใหม่ มีประวัติความเป็นมาซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัยและความเหมาะสม
ตั้งแต่ในสมัยเริ่มแรกเมื่อชาวบาบิโลเนียเริ่มคิดค้นการใช้ปฏิทิน โดยอาศัยระยะต่าง
ๆ ของดวงจันทร์เป็นหลักในการนับ เมื่อครบ 12 เดือนก็กำหนดว่าเป็น 1 ปี
และเพื่อให้เกิดความพอดีระหว่างการนับปีตามปฏิทินกับปีตามฤดูกาล
จึงได้เพิ่มเดือนเข้าไปอีก 1 เดือน เป็น 13 เดือนในทุก 4 ปี

ต่อมาชาวอียิปต์
กรีก และชาวเซมิติค ได้นำปฏิทินของชาวบาบิโลเนียมาดัดแปลงแก้ไข
อีกหลายคราวเพื่อให้ตรงกับฤดูกาลมากยิ่งขึ้นจนถึงสมัยของกษัตริย์จูเลียต ซีซาร์
ได้นำความคิดของนักดาราศาสตร์ชาวอียิปต์ชื่อ โยซิเยนิส มาปรับปรุง ให้ปีหนึ่งมี 365
วัน ในทุก ๆ 4 ปี ให้เติมเดือนที่มี 28 วัน เพิ่มขึ้นอีก 1 วัน เป็น 29 วัน
คือเดือนกุมภาพันธ์ เรียกว่า อธิกสุรทิน

เมื่อเพิ่มในเดือนกุมภาพันธ์มี 29
วันในทุก ๆ 4 ปี แต่วันในปฏิทินก็ยังไม่ค่อยตรงกับฤดูกาลนัก
คือเวลาในปฏิทินยาวกว่าปีตามฤดูกาล
เป็นเหตุให้ฤดูกาลมาถึงก่อนวันในปฏิทิน

และในวันที่ 21
มีนาคมตามปีปฏิทินของทุก ๆ ปี จะเป็นช่วงที่มีเวลากลางวันและกลางคืนเท่ากัน
คือเป็นวันที่ดวงอาทิตย์จะขึ้นตรงทิศตะวันออก และลับลงตรงทิศตะวันตกเป๋ง
วันนี้ทั่วโลกจึงมีช่วงเวลาเท่ากับ 12 ชั่วโมง เท่ากัน เรียกว่า
วันทิวาราตรีเสมอภาคมีนาคม (Equinox in March)

แต่ในปี พ.ศ. 2125 วัน
Equinox in March กลับไปเกิดขึ้นในวันที่ 11 มีนาคม แทนที่จะเป็นวันที่ 21 มีนาคม
ดังนั้น พระสันตะปาปาเกรกอรี่ที่ 13 จึงทำการปรับปรุงแก้ไขหักวันออกไป 10
วันจากปีปฏิทิน และให้วันหลังจากวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2125 แทนที่จะเป็นวันที่ 5
ตุลาคม ก็ให้เปลี่ยนเป็นวันที่ 15 ตุลาคมแทน (เฉพาะในปี 2125 นี้)
ปฏิทินแบบใหม่นี้จึงเรียกว่า ปฏิทินเกรกอเรี่ยน จากนั้นได้ปรับปรุงประกาศใช้วันที่
1 มกราคม เป็นวันเริ่มต้นของปีเป็นต้นมา
วันปีใหม่
มีประวัติความเป็นมาซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัยและความเหมาะสม
ตั้งแต่ในสมัยเริ่มแรกเมื่อชาวบาบิโลเนียเริ่มคิดค้นการใช้ปฏิทิน โดยอาศัยระยะต่าง
ๆ ของดวงจันทร์เป็นหลักในการนับ เมื่อครบ 12 เดือนก็กำหนดว่าเป็น 1 ปี
และเพื่อให้เกิดความพอดีระหว่างการนับปีตามปฏิทินกับปีตามฤดูกาล
จึงได้เพิ่มเดือนเข้าไปอีก 1 เดือน เป็น 13 เดือนในทุก 4 ปี

ต่อมาชาวอียิปต์
กรีก และชาวเซมิติค ได้นำปฏิทินของชาวบาบิโลเนียมาดัดแปลงแก้ไข
อีกหลายคราวเพื่อให้ตรงกับฤดูกาลมากยิ่งขึ้นจนถึงสมัยของกษัตริย์จูเลียต ซีซาร์
ได้นำความคิดของนักดาราศาสตร์ชาวอียิปต์ชื่อ โยซิเยนิส มาปรับปรุง ให้ปีหนึ่งมี 365
วัน ในทุก ๆ 4 ปี ให้เติมเดือนที่มี 28 วัน เพิ่มขึ้นอีก 1 วัน เป็น 29 วัน
คือเดือนกุมภาพันธ์ เรียกว่า อธิกสุรทิน

เมื่อเพิ่มในเดือนกุมภาพันธ์มี 29
วันในทุก ๆ 4 ปี แต่วันในปฏิทินก็ยังไม่ค่อยตรงกับฤดูกาลนัก
คือเวลาในปฏิทินยาวกว่าปีตามฤดูกาล
เป็นเหตุให้ฤดูกาลมาถึงก่อนวันในปฏิทิน

และในวันที่ 21
มีนาคมตามปีปฏิทินของทุก ๆ ปี จะเป็นช่วงที่มีเวลากลางวันและกลางคืนเท่ากัน
คือเป็นวันที่ดวงอาทิตย์จะขึ้นตรงทิศตะวันออก และลับลงตรงทิศตะวันตกเป๋ง
วันนี้ทั่วโลกจึงมีช่วงเวลาเท่ากับ 12 ชั่วโมง เท่ากัน เรียกว่า
วันทิวาราตรีเสมอภาคมีนาคม (Equinox in March)

แต่ในปี พ.ศ. 2125 วัน
Equinox in March กลับไปเกิดขึ้นในวันที่ 11 มีนาคม แทนที่จะเป็นวันที่ 21 มีนาคม
ดังนั้น พระสันตะปาปาเกรกอรี่ที่ 13 จึงทำการปรับปรุงแก้ไขหักวันออกไป 10
วันจากปีปฏิทิน และให้วันหลังจากวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2125 แทนที่จะเป็นวันที่ 5
ตุลาคม ก็ให้เปลี่ยนเป็นวันที่ 15 ตุลาคมแทน (เฉพาะในปี 2125 นี้)
ปฏิทินแบบใหม่นี้จึงเรียกว่า ปฏิทินเกรกอเรี่ยน จากนั้นได้ปรับปรุงประกาศใช้วันที่
1 มกราคม เป็นวันเริ่มต้นของปีเป็นต้นมา